พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช กะไหล่ทอง (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน***************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท**************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช กะไหล่นาก (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน*****************************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท*****************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช กะไหล่เงิน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน*******************************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท********************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ท่านแม่จามเทวี (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
ท่านแม่จามเทวี รุ่นนี้เข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วิหารแก้ว ๑๐๐เมตร เมื่อวันที่ 8 ก.พ.35 (ภาพประกอบจาก VDO ที่บันทึกไว้ในงานพิธีพุทธาภิเษก) ถือเป็นพระบูชาของหลวงพ่อที่ไม่ค่อยได้เห็นกันมากนัก
-
๑. พระบูชา พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
พระบูชายืน หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า (เททองโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง)
พระบูชายืนหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า รุ่นนี้สร้างออกในนามวัดท่าซุงโดยตรง สร้างพร้อมรูปเหมือนบูชายืนเสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพร เมื่อปี23 โดยสร้างตามจำนวนที่สั่งจองเท่านั้น โดยพระทุกองค์จะตอกหมายเลขกำกับพร้อมสลักชื่อ-นามสกุล ผู้สั่งจองที่ฐานองค์พระด้วย ถือเป็นพระบูชาที่หายากอีกรุ่นหนึ่งในสายวัดท่าซุง
ที่ฐานด้านหน้าเขียนว่า
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
พระอาจารย์ของเสด็จพ่อกรมหลวงชุมพร
เททองโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำส่วนที่ฐานด้านหลังเขียนว่า
(…สลัก ชื่อ-นามสกุล…ผู้สั่งจอง)
๑๔ เมษายน ๒๕๒๓
(….หมายเลของค์พระ…) -
๑. พระบูชา พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
รูปเหมือนบูชายืน เสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพร (เททองโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง)
รูปเหมือนบูชายืนเสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพร รุ่นนี้สร้างออกในนามวัดท่าซุงโดยตรง สร้างพร้อมพระบูชายืนหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า เมื่อปี23 โดยสร้างตามจำนวนที่สั่งจองเท่านั้น โดยพระทุกองค์จะตอกหมายเลขกำกับพร้อมสลักชื่อ-นามสกุล ผู้สั่งจองที่ฐานองค์พระด้วย ถือเป็นพระบูชาที่หายากอีกรุ่นหนึ่งในสายวัดท่าซุง
ที่ฐานด้านหน้า เป็นรูปสมอเรือ (ตราสัญลักษณ์ของกองทัพเรือ)
ที่ฐานด้านหลังเขียนว่า
เสด็จพ่อกรมหลวงชุมพร
เททองโดย
หลวงพ่อฤาษีลิงดำที่ฐานด้านขวาเขียนว่า
(…สลัก ชื่อ-นามสกุล…ผู้สั่งจอง)
ส่วนที่ฐานด้านซ้ายเขียนว่า
(….หมายเลของค์พระ…)
๑๔ เมษายน ๒๕๒๓ -
๑. พระบูชา พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
องค์บูชายืน ท่านท้าวจตุมหาราช (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
ท่านท้าวจตุมหาราช ทั้ง4พระองค์นั้น ท่านเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ซึ่งท่านประจำอยู่ที่ทิศทั้งสี่ อันประกอบไปด้วย
๑. ท้าวมหาราชทิศตะวันออก ท้าวธตรฐ ถือพระขรรค์เป็นอาวุธ พร้อมด้วยคนธรรพ์เป็นบริวาร
๒. ท้าวมหาราชทิศใต้ ท้าววิรุฬหก ถือไม้พองเป็นอาวุธ พร้อมด้วยกุมภัณฑ์เป็นบริวาร
๓. ท้าวมหาราชทิศตะวันตก ท้าววิรูปักษ์ ถือกงจักรเป็นอาวุธ พร้อมด้วยนาคเป็นบริวาร
๔. ท้าวมหาราชทิศเหนือ ท้าวเวสสุวัณ ถือกระบองเป็นอาวุธ พร้อมด้วยยักษ์เป็นบริวารชุด4องค์นี้ คุณวีระ งามขำ หรือที่รู้จักกันในนาม “ลุงยกทรง” เป็นผู้สร้างถวายพระเดชพระคุณหลวงพ่อ ประมาณ 100ชุด ตามประวัติ..ชุดนี้น่าจะเป็นท่านท้าวมหาราชทั้ง4 ที่สร้างขึ้นมาเป็นรุ่นแรก และเป็นเพียงรุ่นเดียวที่ผ่านพิธีพุทธาภิเษกจากหลวงพ่อ
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
องค์บูชายืน ท่านแม่ทั้ง3 เนื้อแก้วใส (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
ท่านแม่ทั้งสามองค์นี้ ท่านเป็นคู่บารมีของพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษีลิงดำในอดีตมาหลายๆชาติ เราลูกหลานหลวงพ่อจะเรียกท่านแม่รวมๆว่า “ท่านแม่ทั้งสาม” ส่วนนามเต็มๆของท่านคือ…
ท่านแม่ศรีระจิตร (แม่ใหญ่) มีพระนามเต็มท่านคือ พรรณวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่ประภาศรี (แม่กลาง) มีพระนามเต็มท่านคือ ประภาวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่จิตร (แม่เล็ก) มีพระนามเต็มท่านคือ จิตราวดีศรีโสภาคย์
3องค์นี้ ออกที่วัดท่าซุง รุ่นเก่าสร้างสมัยหลวงพ่อ เป็นเนื้อแก้วใส สร้างครั้งแรก 30 ตุลาคม 2528 ท่านแม่จะสงเคราะห์ลูกหลานให้โชคให้ลาภ อธิฐานขอพรท่านให้ท่านเมตตาได้ทุกประการ