พระบูชา พิมพ์อื่นๆ
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช กะไหล่ทอง (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน***************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท**************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช กะไหล่นาก (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน*****************************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท*****************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช กะไหล่เงิน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน*******************************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท********************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช เนื้อโลหะรมดำ (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน**********************************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท*********************************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช เนื้อโลหะไม่รมดำ (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน*************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท************************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
ท่านแม่จามเทวี (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
ท่านแม่จามเทวี รุ่นนี้เข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วิหารแก้ว ๑๐๐เมตร เมื่อวันที่ 8 ก.พ.35 (ภาพประกอบจาก VDO ที่บันทึกไว้ในงานพิธีพุทธาภิเษก) ถือเป็นพระบูชาของหลวงพ่อที่ไม่ค่อยได้เห็นกันมากนัก
-
๑. พระบูชา พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
พระบูชายืน หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า (เททองโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง)
พระบูชายืนหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า รุ่นนี้สร้างออกในนามวัดท่าซุงโดยตรง สร้างพร้อมรูปเหมือนบูชายืนเสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพร เมื่อปี23 โดยสร้างตามจำนวนที่สั่งจองเท่านั้น โดยพระทุกองค์จะตอกหมายเลขกำกับพร้อมสลักชื่อ-นามสกุล ผู้สั่งจองที่ฐานองค์พระด้วย ถือเป็นพระบูชาที่หายากอีกรุ่นหนึ่งในสายวัดท่าซุง
ที่ฐานด้านหน้าเขียนว่า
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
พระอาจารย์ของเสด็จพ่อกรมหลวงชุมพร
เททองโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำส่วนที่ฐานด้านหลังเขียนว่า
(…สลัก ชื่อ-นามสกุล…ผู้สั่งจอง)
๑๔ เมษายน ๒๕๒๓
(….หมายเลของค์พระ…) -
๑. พระบูชา พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระยอดนิยม
พระเจ้าพรหมมหาราช ทรงช้างพลายประกายแก้ว (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
จัดสร้างโดยคุณจีระศักดิ์ พูนผล เพื่อหาทุนทรัพย์ในการจัดสร้างอนุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว ประจำ ณ วัดท่าซุง โดยใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 9 แสนบาท และหลวงพ่อได้เมตตาเพิ่มเติมด้วยการสั่งให้ปิดทองคำแท้ทั้งองค์อีกเป็นจำนวน 250,000 บาท
พระเดชพระคุณหลวงพ่อเมตตาเททองหล่อเมื่อ วันมาฆบูชา ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สร้างประมาณ 300องค์เศษ ขนาดฐาน 8 x 4 1/2นิ้ว ฐานสูง 1นิ้ว ความสูงทั้งสิ้น 12นิ้ว ที่ฐานด้านหน้ามีหมายเลขประจำองค์ ส่วนที่ฐานข้างหนึ่งเขียนว่า “เททองโดย หลวงพ่อพระมหาวีระ ถาวโร วันมาฆบูชาที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ” และอีกข้างหนึ่งเขียนว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช ช้างประกายแก้ว กู้ชาติไทยครั้งแรกสมัยโยนก”
จัดสร้างด้วยกัน 4เนื้อ คือ
1) เนื้อชุบกะไหล่ทอง
2) เนื้อชุบกะไหล่เงิน
3) เนื้อชุบกะไหล่นาก
4) เนื้อโลหะรมดำ / เนื้อโลหะไม่รมดำ (ผิวทองแดง)ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2527 หลวงพ่อจึงได้ทำพิธีบวงสรวงและเปิดอนุเสาวรีย์องค์พระเจ้าพรหมมหาราช เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2527 และในปัจจุบัน…ทางวัดจะจัดงานฉลองชัยชนะของพระเจ้าพรหมมหาราช ณ อนุเสาวรีย์ เป็นประจำทุกๆปีในวันก่อนหน้าวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน โดยจะมีการบวงสรวงและเวียนเทียนรอบอนุเสาวรีย์ อีกทั้งมีการฟ้อนรำถวายองค์พระเจ้าพรหมมหาราช เพื่อเป็นการระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน****************************************************
สำหรับองค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว ในสมัยหลวงพ่อนั้น ท่านตั้งราคาให้ร่วมทำบุญ ดังนี้
1. เนื้อโลหะชุบทอง ทำบุญองค์ละ 3,000 บาท
2. เนื้อโลหะชุบนาก ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
3. เนื้อโลหะชุบเงิน ทำบุญองค์ละ 2,500 บาท
4. เนื้อโลหะรมดำ ทำบุญองค์ละ 1,500 บาท*********************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทย
หากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
พระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างพลายประกายแก้ว วัดโพธิ์เมืองปัก (สายหลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง)
ทางลูกศิษย์พระเดชพระคุณหลวงพ่อ คณะลูกศิษย์วัดโพธิ์เมืองปัก ได้จัดสร้าง “องค์บูชาพระเจ้าพรหมมหาราชทรงช้างประกายแก้ว” มาทั้งสิ้น 50องค์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาทุนสมทบเพื่องานก่อสร้างวิหารทาน
การสร้างหล่อด้วยชนวนมวลสารเก่า เเละติดผงชนวนพระกริ่งมหาเศรษฐี ที่ผสมด้วยชนวนสมเด็จองค์ปฐม วัดท่าซุง, ชนวนสมเด็จองค์ปฐม วัดพุทธโมกข์, ชนวนพระยืนสามสิบศอก, ชนวนพระปัจเจกพระพุทธเจ้า เเละใต้ฐานบรรจุ
1. ตะกรุดผ้ายันต์ธงพิชัยสงคราม ผืนเล็ก วัดท่าซุง
2. ลูกเเก้วจักรพรรดิ์ วัดท่าซุง
3. เชือกแดง ทันหลวงพ่อ (บรรจุในหลอด ตะกรุดพร้อมผ้ายันต์)
4. เม็ดประคำเก่า วัดโพธิ์เมืองปัก (ทันหลวงพ่อ)
5. พระธาตุ ข้าวบิณฑ์ บรรจุ3องค์
6. เพิ่มเกศา หลวงพ่อ
7. จีวรที่หลวงพ่อเคยครอง
8. พระธาตุ ชานหมาก
9. ผงมหามงคล 108 (ผงธูป ทรายเสกหลวงพ่อ ผงพระอรหันตธาตุในถ้ำ ผงพระอายุยืนหลวงปู่สี เป็นต้น)โดย ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช ชุดนี้ได้รับอนุญาตจากหลวงพ่อสุริทร์เเละท่านได้กราบเรียน ท่านเจ้าคุณ เจ้าอาวาสวัดท่าซุง เพื่อนำเข้าในพิธีพุทธาภิเษก เเละฉลองพระทองคำ ณ วัดสุขุมมารม จ.พิจิตร ในวันที่ 24 ม.ค. 2558
ลักษณะ ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช ชุดนี้ ปั้นพิมพ์ใหม่ โดยใช้เทียบพิมพ์จาก ช้างพระเจ้าพรหมมหาราช องค์ที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อได้เคยสร้างไว้ ถือว่าสร้างออกมาได้ใกล้เคียงและมีความสวยงาม น่าบูชา
**********************************************************
พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้เล่าถึงอานุภาพไว้ว่า
:- ช้างถนัดในทางปราบอมิตร พระเจ้าพรหมมหาปราบและมหาเสน่ห์ พระนางปทุมวดี (ยังไม่มีรูปปั้นที่วัด) ถนัดในทางลาภ
:- ถ้าจะบนช้างต้องเอาเลือดสดทาปาก แต่ท่านให้ใช้อาหาร ที่มีเลือดหมูต้มรวมอยู่ด้วยถวายพระแทน
:- ส่วนถ้าจะบนพระเจ้าพรหม ให้ใช้ผ้าเหลืองถวายพระ และถ้าบนพระนางปทุมวดี ให้ใช้ดอกไม้ 3สี บูชาพระถวายสังฆทาน************************************************************
ประวัติ พระเจ้าพรหม มหาราชองค์แรกของไทยหากมีการตั้งคำถามว่า กษัตริย์ที่นักประวัติศาสตร์ไทยยกย่องว่าเป็น “มหาราช” องค์แรกของไทย คือ พระองค์ใด หลายคนคงนึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บางคนอาจจะนึกถึงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือบางคนอาจนึกไปได้ไกลถึงพระเจ้ามังรายมหาราช เพราะแต่ละพระองค์ล้วนแต่ครองราชย์ในช่วงหลายร้อยปีก่อนหน้าโน้น และมีพระนามเป็นที่คุ้นหูอย่างดี แต่ความเป็นจริง พระมหากษัตริย์ไทยเราที่ทรงเป็นมหาราชองค์แรก ก็คือ “พระเจ้าพรหมมหาราช” ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพของชาติไทยให้รอดพ้นจากการรุกรานย่ำยีของพวกขอม เมื่อประมาณ ๑,๐๖๔ ปีล่วงมาแล้ว ในสมัยอาณาจักรโยนกหรืออำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของเวลา แต่ละตำราจะเขียนไว้ไม่เหมือนกัน ในที่นี้จะขอยึดข้อมูลจากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย ซึ่งเอา “ตำนานสิงหนวัติฉบับสอบค้น” มาเป็นหลักอ้างอิง กล่าวคือย้อนไปเมื่อ พ.ศ.๑๔๖๐ ในรัชสมัยของ พระเจ้าพังคะ หรือ พระองค์ฬั่ง กษัตริย์องค์ที่ ๔๓ แห่งราชวงศ์สิงหนวัติ ได้ถูกพวกขอมขับไล่จากเมืองโยนกพันธุ์ไปอยู่เมืองเวียงสี่ตวง ใกล้แม่น้ำสาย จนกระทั่ง ๔ ปีต่อมา หรือเมื่อ พ.ศ. ๑๔๖๔ มเหสีของพระองค์ไปประสูติโอรสคนที่ ๒ มีการขนานนามว่า “พระเจ้าพรหมกุมาร”
ในตำนานได้กล่าวถึงประวัติตอนปฐมวัยของ “พระเจ้าพรหมกุมาร” เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ เช่น เมื่อพระองค์มีพระชันษาได้๗ ปี ก็สามารถเล่าเรียนวิชาเพลงอาวุธและตำราพิชัยสงคราม จนจบครบถ้วนกระบวนความ หรือเมื่อพระองค์มีพระชันษาได้ ๑๓ ปี ได้ทรงสุบินว่า มีเทพยดามาบอกว่า จะมีช้าง ๓ ตัวล่องน้ำโขงมา และให้เจ้าพรหมกุมารไปล้างหน้าที่นั่น หากจับช้างตัวแรกได้จะมีอานุภาพปราบได้ทั้ง ๔ ทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๒ จะมีอานุภาพได้ชมภูทวีป ถ้าจับได้ตัวที่ ๓ จะปราบแว่นแคว้นล้านนาได้
พอรุ่งเช้า เจ้าพรหมกุมารจึงได้พาบริวารประมาณ ๕๐ คน ไปยังท่าน้ำ ครั้งแรกเห็นงูเหลือมเลื่อมเป็นมันระยับลอยผ่านไปแล้ว ๑ ตัว พอตัวที่ ๒ ก็เป็นงูอีกเหมือนกัน พอตัวที่ ๓ เจ้าพรหมกุมารจึงทรงนึกถึงเรื่องในสุบินนั้นคงเป็นงูนี่เอง จึงพร้อมกับบริวารช่วยกันจับงู เมื่อเจ้าพรหมกุมารสามารถขึ้นขี่ งูก็กลายเป็นช้างไปทันที แต่ไม่ยอมขึ้นฝั่ง จนกระทั่งบริวารต้องเอาพานทองคำตีล่อ ช้างจึงยอมขึ้นจากน้ำ และมีการเรียกชื่อว่า “ช้างพานทองคำ”พระเจ้าพรหม ทรงมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความสามารถและโปรดในการสงคราม เมื่อสามารถเตรียมกำลังไพร่พลได้อย่างเต็มที่แล้ว ก็ทูลพระบิดาให้เลิกการส่งส่วยแก่ขอม พวกขอมจึงยกทัพขึ้นไปปราบ พระเจ้าพรหมก็คุมกำลังออกต่อสู้และขับไล่พวกขอมจนแตกพ่าย สามารถยึดเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติคืนได้เมื่อ พ.ศ.๑๔๗๙ ในขณะที่พระองค์มีพระชันษาได้เพียง ๑๖ ปีเท่านั้น
สำหรับช้างพานทองคำ เมื่อเสร็จสงครามก็ได้หายไปทางดอยลูกหนึ่ง ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ดอยช้างงู” แต่ชาวเขาเผ่าอีก้อออกเสียงไม่ชัดเจน เรียกว่า “ดอยสะโง้” และได้เรียกเพี้ยนมาจนถึงปัจจุบัน
ส่วนพระเจ้าพรหม เมื่อได้อัญเชิญพระบิดามาครองเมืองโยนกนาคพันธุ์สิงหนวัติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองโยนกชัยบุรีแล้ว พระองค์ก็นำทัพไปขับไล่ขอมจนถึงเมืองกำแพงเพชร จนหมดเชื้อชาติขอมในอาณาจักรโยนกแล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สร้างเมืองใหม่ขึ้นที่เมืองอุมงคลเสลาเก่า เมื่อ พ.ศ. ๑๔๘๐ เพื่อเป็นด่านหน้าคอยป้องกันพวกขอมยกทัพกลับมาตีอีก และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่เป็น “เมืองไชยปราการ” ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ นั่นเอง
พระองค์ได้ครองเมืองไชยปราการได้ ๕๙ ปี ก็เสด็จสวรรคตเมื่อ พ.ศ.๑๕๔๐ ต่อมาได้มีการขนานนามพระองค์ว่า “พระเจ้าพรหมมหาราช” นับเป็นมหาราชองค์แรกของชาติไทย
-
๑. พระบูชา พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
รูปเหมือนบูชายืน เสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพร (เททองโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง)
รูปเหมือนบูชายืนเสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพร รุ่นนี้สร้างออกในนามวัดท่าซุงโดยตรง สร้างพร้อมพระบูชายืนหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า เมื่อปี23 โดยสร้างตามจำนวนที่สั่งจองเท่านั้น โดยพระทุกองค์จะตอกหมายเลขกำกับพร้อมสลักชื่อ-นามสกุล ผู้สั่งจองที่ฐานองค์พระด้วย ถือเป็นพระบูชาที่หายากอีกรุ่นหนึ่งในสายวัดท่าซุง
ที่ฐานด้านหน้า เป็นรูปสมอเรือ (ตราสัญลักษณ์ของกองทัพเรือ)
ที่ฐานด้านหลังเขียนว่า
เสด็จพ่อกรมหลวงชุมพร
เททองโดย
หลวงพ่อฤาษีลิงดำที่ฐานด้านขวาเขียนว่า
(…สลัก ชื่อ-นามสกุล…ผู้สั่งจอง)
ส่วนที่ฐานด้านซ้ายเขียนว่า
(….หมายเลของค์พระ…)
๑๔ เมษายน ๒๕๒๓ -
องค์บูชา ท่านปู่พระอินทร์-ท่านย่าสุชาดา (ศิษย์หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง สร้าง) ออกวัดโพธิ์เมืองปัก
คณะลูกศิษย์หลวงพ่อฤาษีลิงดำจะเรียกพระอินทร์และพระชายาของพระอินทร์ท่านว่า “ท่านปู่-ท่านย่า” เพราะในอดีต สมัยเชียงแสน ท่านเคยเป็นพ่อเป็นแม่ของหลวงพ่ออยู่ ท่านปู่คือพระเจ้าพังคราช ท่านย่าก็คือพระนางพังครานี ส่วนท่านแม่เกิดเป็นคู่บารมีหลวงพ่อ เรียกสั้นๆ ว่า ท่านแม่ศรี
คาถาบูชาท่านปู่พระอินทร์
ตั้งนะโม 3 จบ ก่อน จากนั้นว่า…
“สหัสสะเนตโต เทวินโท ทิพจักขุง วิโสทายิ”
(คาถาบทนี้เหมาะสำหรับเด็กนักเรียน บอกว่าเวลาก่อนที่จะดูหนังสือ ให้ไหว้พระ นึกถึงพระพุทธเจ้า นึกถึงพระธรรม นึกถึงพระอริยสงฆ์ นึกถึงบิดามารดา ความดีของท่าน นึกถึงครูบาอาจารย์ แล้วนึกถึงท่านปู่พระอินทร์เจ้าของคาถา แล้วว่าสัก 1 จบ แล้วก็ดูหนังสือ เมื่อจะเลิกจากอ่านหนังสือก็ว่าสักอีก 1 จบ วันแรก ๆ ก็อาจจะจำไม่ได้ แต่วันต่อไปก็อาจจะคล่องตัวขึ้นมาเอง)
เป็นคาถาที่มีความสำคัญ โดยเฉพาะคนที่กำลังเรียนหรือศึกษาอยู่ จะมีผลมากด้านความจำ หรือการทำข้อสอบก็จะมีความถูกต้องแม่นยำอย่างไม่น่าเชื่อ
สหัสสะเนตโต…. ตาโต ๆ พันดวง
เทวินโท….เทวดาผู้เป็นใหญ่
ทิพจักขุง….ตาทิพย์ ความรู้สึกเหมือนมีตาทิพย์
วิโสทายิ แค่นั้น ใช่บ่อย ๆ ความจำจะดีองค์บูชา ท่านปู่-ท่านย่า นี้ คณะลูกศิษย์วัดโพธิ์เมืองปักษ์ จัดสร้างเพื่อหาทุนบูรณะวัดโพธิ์เมืองปักษ์ ซึ่งวัดนี้เคยเป็นวัดที่หลวงพ่อท่านเคยมาบูรณะก่อนหน้านี้ องค์บูชานำเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วัดท่าซุง เมื่อคราว วันเสาร์๕ ที่ 7พ.ค.2554
**************************************************************************************************
เรื่องเล่า…บทสนทนาระหว่าง “ท่านย่า” สุชาดา(คู่บารมีท่านปู่พระอินทร์) กับ พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี)
#ท่านย่า: “เวลาขึ้นไปข้างบนนะพระคุณเจ้า ลูกพระคุณเจ้าทั้งหลายไม่ได้ดูตาม้าตาเรือเขาหรอก บางทีเขานั่งคุยกัน เดินผ่ากลางเข้าไป แหวกเข้าไปนั่งตรงกลาง องค์อื่นเขาก็ชี้ นั่นไงญาติคุณ ฉันก็นั่งอยู่ด้วยไม่รู้จะพูดยังไง ฉันละอาย
#หลวงพ่อ: “เทวดาไม่มีมรรยาท เห็นคนขึ้นไปไม่หลีก” (หลวงพ่อแก้แทนลูกๆ) “ก็ไปหาย่า หาปู่ ไม่ได้ไปหาคนอื่น”
หลานไม่ยอมแพ้ “ความจริงท่านย่าน่าจะภูมิใจว่า ลูกหลานมีฝีมือนะ”
#ท่านย่า: “ฝีมืออย่างเดียวไม่ไหวหรอกว่ะ อายเขาว่ะ แถมบางคนขึ้นไป ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ ส่งเสียงดังอีกที่หน้าวิมาน หาย่าไม่เจอ มันก็เรียกท่านย่า ท่านย่า เทวดาองค์อื่นเขาก็แตกตื่นมาดูกันใหญ่ ดูลูกท่านซิพระคุณเจ้า ทั้งๆ ที่ฉันก็นั่งอยู่ข้างในนั่นแหละ มันมองไม่เห็นเรียกเสียงดังเชียว มีอย่างที่ไหนไอ้เรื่องเชย เรื่องเฉิ่ม ยกให้ลูกพระคุณเจ้า”
#หลวงพ่อ: “ไม่ได้เชย ไม่ได้เฉิ่ม เขาเรียกว่า นักแสดงปลุกใจ(ขึ้นไปไหนทีเทวดาแตกตื่นมามุงดู)” (หลวงพ่อแก้แทนลูกๆอีก)
****เรื่องเช่นนี้หลวงพ่อเคยเล่าว่า เวลาพวกฝึก(วิชามโนมยิทธิ)ใหม่ ขึ้นไปทั้งเทวดาทั้งพรหม ทั้งพระอริยะ ลุยแหลก คือจะไปหาพระพุทธเจ้า พระอรหันต์นั่งอยู่กี่องค์ไม่ได้ดู ขอให้ได้เห็นพระพุทธเจ้าก็แล้วกัน ทั้งนี้เพราะสมาธิแคบ ไม่เห็นทั้งหมด (พระเดชพระคุณหลวงพ่อจึงได้แนะนำไว้ให้ลูกหลานขอขมาพระรัตนตรัยทุกๆวัน)
หลวงพ่อจึงต้องรับแทนว่า “เวลาลูกลิงขึ้นไป อย่าไปว่าอะไรมันเลยนะ”
ถ้าสังเกตดี ไม่ว่าท่านย่าจะว่าอะไรลูกๆหลานๆมา หลวงพ่อก็จะแก้ให้หมดทุกอย่าง หรือจากหลายๆบทความที่ท่านย่าและท่านแม่มาบอกเล่าว่า องค์หลวงพ่อนั้นทั้งรักทั้งห่วงลูกๆ ยิ่งกว่าใครๆ ทั้งรักทั้งห่วง เป็นแบบนี้มาทุกๆชาติไม่ว่าชาติไหนๆ
จากนิตยสารธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๔๘ ปี ๒๕๒๗
-
องค์บูชา พระพินิจอักษร (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
องค์บูชารูปเหมือนพระพินิจอักษร จัดสร้างและเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วัดท่าซุง สร้างด้วยเนื้อปูนพลาสเตอร์พ่นสีทอง ค่อนข้างจะหาชมได้ยาก
************************************************************************************************************
คำสอน พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)
จาก หนังสือ ตายแล้วไม่สูญ…แล้วไปไหนพระพินิจอักษร มีนามว่า “ทองดี” เป็นสมเด็จพระราชบิดาของรัชกาลที่ ๑ ทรงประสูติในเรือฝั่งตรงข้ามกับโบสถ์เก่าวัดท่าซุง ในฐานะที่พระองค์เป็นทั้งชาวสุโขทัยและก็ชาวกรุงศรีอยุธยา และก็ยังเป็นชาวเชียงแสนด้วย ท่านเป็นคนของแผ่นดิน เพราะว่าท่านสืบเชื้อสายมาจากเชียงแสน ชาวเชียงแสนมาตั้งถิ่นฐานที่สุโขทัย ต่อมาพระราชโอรสของพระองค์ได้เป็นใหญ่ในกรุงเทพฯ เป็นอันว่าวงศ์นี้เป็นวงศ์ที่มีคุณต่อประเทศชาติอยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงเป็นแม่ทัพในการกู้ชาติ ที่มีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นหัวหน้า ต่อมาเมื่อ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เถลิงราชสมบัติเป็นกษัตริย์ พระองค์ก็เป็นกำลังใหญ่ในการปราบปรามข้าศึก ต่อมาในสมัยพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ก็ทรงปราบปรามข้าศึก รักษาเอกราชให้ชาติไทยอยู่รอดเป็นอิสระจนกระทั่งทุกวันนี้ เวลานี้วงศ์ของท่านทองดีก็ยังครองประเทศชาติอยู่ ท่านพระพินิจอักษรท่านเป็นครูและท่านเป็นหมอด้วย สมัยก่อนคนเป็นหมอง่าย เรียกว่า “หมอยาป่า” หรือ “หมอโบราณ” ท่านมีความรู้ทางหมออยู่บ้างตามสมควร เรื่องความเป็นหมอคนโบราณถือว่ามีความสำคัญ
คืนวันหนึ่งของปี ๒๕๑๕ เวลาประมาณ ๒๓.๐๐น.เศษ อาตมารู้สึกง่วงนอนเร็วกว่าปกติ จึงเอนกายลงนอน ได้เห็นชายคนหนึ่งรูปร่างขาวท้วม นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อธรรมดาแต่ยาวลงเลยชายพกประมาณ ๖ นิ้วฟุต มือขวาถือหนังสือเล่มใหญ่แนบกับตัว เห็นภาพนั้นเมื่อดับไฟมืดสนิทและไม่มีแสงสว่างจากภายนอกลอดเข้ามา ก็ทราบว่าชายที่เห็นนั้นไม่ใช่คนธรรมดา เพราะประตูใส่กลอนแล้ว หน้าต่างก็มีลูกกรงเหล็ก ตามความรู้สึกขณะนั้นบอกว่า “ชายผู้นี้คือผี” ชายที่ยืนให้เห็นนั้นท่าทางท่านสุภาพมากยืนเฉยๆ ไม่แสดงอาการผิดปกติ แต่เวลานั้นกำลังง่วงจัดอยากจะหลับท่าเดียว จึงคิดว่ามีธุระอะไรพรุ่งนี้ค่อยมาคุยกันใหม่ แต่ต้องมาก่อนง่วงนอน พอวันรุ่งขึ้นเข้านอนก่อนเวลาเพราะเกรงว่าจะง่วงและอาจผิดสัญญากับผีได้ เวลา ๒๒.๐๐ น. ก็เข้าห้องบูชาพระตามปกติ
เมื่อบูชาพระเสร็จก็เข้านอน พอหลังถึงพื้นศีรษะถึงหมอน ก็ปรากฏภาพชายคนเมื่อวานที่ผ่านมา มายืนอยู่ข้างปลายเตียงทางด้านขวา จึงถามท่านว่า “ท่านเป็นใคร” ท่านก็ตอบว่า “ผมคือทองดีครับ” ถามท่านอีกว่า “ทองดีคือใคร” ท่านตอบว่า “ทองดีพ่อทองด้วงครับ” เมื่อท่านตอบแล้วก็คิดไม่ถึงว่าท่านทั้งสองเป็นผู้มีคุณใหญ่ต่อประเทศ และอาตมาก็ยังสำนึกในบุญคุณของท่านที่ท่านเมตตาเสียสละให้ไทยได้เป็นไทอยู่จนทุกวันนี้ ท่านจะมาแสดงตนให้เห็น จึงได้ถามท่านต่อไปว่า “ทองด้วงคือใคร” ท่านตอบว่า “ทองด้วง คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช” ถามท่านว่า “ที่ท่านมานี้ท่านมีความประสงค์อะไร” ท่านบอกว่า “ผมเป็นครูครับ เมื่อท่านสร้างวัดเสร็จแล้วช่วยสร้างโรงเรียนให้ผมสักหลังหนึ่ง” ก็รับปากท่านว่าถ้าไม่เกินกำลังเต็มใจสร้างให้ท่าน
ท่านเล่าให้ฟังอีกว่า เดิมทีเดียวท่านเป็นข้าราชการที่กรุงศรีอยุธยาได้รับบรรดาศักดิ์ครั้งสุดท้าย ที่พระอักษรสุนทร ต่อมาเมื่อพม่าล้อมกรุงศรีอยุธยา ท่านพาภรรยาและบุตรคนเล็กอายุ ๗ ปีขึ้นไปพิษณุโลก ไปอยู่กับเจ้าเรืองพระฝาง (พระยาพิษณุโลก) ท่านตั้งให้เป็นพระพินิจอักษร เพราะให้ท่านเป็นครูสอนหนังสือ (หนังสือราชการ) กับพวกขุนนาง เวลาล่วงมาประมาณปีเศษ อาศัยที่คุณพระพินิจอักษรเป็นคนฉลาด มีความสามารถมาก ต่อมาขั้นสุดท้ายท่านได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ แต่ไม่มีใครสนใจในบรรดาศักดิ์นี้ ที่สนใจจริงๆ ก็คือ คุณพระอักษรสุนทร เป็นบรรดาศักดิ์ที่ทางกรุงศรีอยุธยาตั้งให้ ดังนั้นในประวัติศาสตร์ของท่านจึงมีชื่อเพียง พระอักษรสุนทร ท่านบอกว่า “ผมเกิดที่แม่น้ำสะแกตรัง (ชาวบ้านเรียกสะแกกรัง) เกิดในเรือครับ เรือที่ผมคลอดจากครรภ์มารดาอยู่ตรงนี้ครับ” ท่านชี้สถานที่เรือจอดให้ทราบ
เป็นธรรมดาของอาตมาเมื่อคุยกับผี จะเป็นผีระดับไหนก็ตาม ผีมีหลายระดับคือ นรก เปรต อสุรกาย สัมภเวสี ภูมิเทวดา อากาศเทวดา พรหม ทั้งหมดนี้เรายกยอดเรียกผีเหมือนกันหมด เพราะไม่สามารถเห็นเขาได้ตามปกติ เมื่อเขาต้องการให้เห็นเราจึงเห็น เมื่อท่านจะกลับจึงได้ถามว่า “ท่านมาขอร้องตามนี้ก็ไม่ขัดข้อง แต่อยากจะขอเหตุผลสักหน่อยว่า ถ้าท่านเป็นท่านทองดีจริง ท่านจะบอกหรือแสดงอะไรสักอย่างหนึ่งก็ได้เพื่อเป็นหลักฐานควรเชื่อถือได้” ท่านถามว่า “ไม่ไว้ใจท่านหรือ” ก็เรียนท่านว่า “ไว้ใจ แต่ขอไว้เพื่อความมั่นใจ” ท่านก็บอกว่า “วันพรุ่งนี้ทางบ้านโน้นเขาจะรื้อบ้าน (ท่านชี้ไปทางที่ท่านบอกว่าบ้านท่านเคยตั้งที่นั่น) เขาจะรื้อบ้านเขาจะได้เงินกลม ถ้าเขาได้เงินกลมจริงก็เป็นการยอมรับว่าผมคือ “ทองดี” จริง กับอีกเรื่องหนึ่งก็คือต่อจากนี้ไปไม่เกิน ๑ เดือน ทองคำที่ตระกูลผมฝังไว้ใกล้พระอุโบสถจะเลื่อนเข้ามาใต้ถุนที่คุณอยู่ จะมีเสียงดังจากทองที่เลื่อนมาไว้ชัดเจนมาก ถ้ามีเสียงทองเลื่อนจริงก็เป็นเครื่องยอมรับว่าผมคือ “ทองดี” จริง”
พอวันรุ่งขึ้นก็มีคนนำเงินกลมมาให้ ๑๐ กว่าอัน ผู้ให้บอกว่า เจ้าของบ้านเขารื้อบ้าน ขุดดินลงไปเพื่อเอาเสาเรือนขึ้น เมื่อนำเสาขึ้นมาแล้วพบเงินกลมหนึ่งไห เจ้าของให้นำมาถวาย ต่อมาอีกไม่ถึงครึ่งเดือน คืนวันนั้นมีคนมาร่วมเจริญพระกรรมฐานกันมาก ขณะที่ทุกคนกำลังเจริญพระกรรมฐานก็ได้ยินเสียงครืนใต้ดิน ได้ยินชัดมาก เสียงนั้นเลื่อนใกล้เข้ามาพอถึงกลางตึกเสียงก็เงียบ เมื่อเลิกพระกรรมฐานแล้วต่างคนต่างก็ไปดูสถานที่ที่มีเสียง ก็ไม่เห็นมีอะไรผิดปกติ รุ่งเช้า นายดาบตระกูล เปาริก ออกไปดูบริเวณนั้นเห็นดินยุบลงนิดหน่อยแต่เป็นบริเวณกว้าง ได้เอาเหล็กแทงลงไปปรากฏว่าจมเส้นเหล็กแล้วยังไม่ถึงกันหลุม ทั้งหมดนี้จัดเป็นอภินิหารของท่านได้
ต่อมาตั้งใจจะสร้างโรงเรียนให้ตามที่ท่านขอไว้ ได้ติดต่อทางผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัดสมัยนั้น เรื่องก็เงียบหายไป เมื่อหาทางสร้างโรงเรียนไม่ได้จึงสร้างศาลาการเปรียญแทนให้ชื่อว่า “โรงเรียนพระพินิจอักษร” ทั้งนี้ก็เพราะว่าศาลาก็คือโรงเรียน คำว่า “เปรียญ” แปลว่า “รู้รอบ” หรือรู้ทุกอย่างทั้งทางโลกและทางธรรม ดูเหมือนจะมีความสำคัญมากกว่าโรงเรียน ซึ่งสอนเฉพาะความรู้ปกติธรรมดา จึงมีความเห็นว่าศาลาการเปรียญมีความสำคัญมาก หลังจากนั้นได้สร้างโรงพยาบาลแม่และเด็กขึ้น จึงคิดจะสร้างรูปท่านไว้เป็นอนุสรณ์ ในฐานะที่ท่านเมตตามาหาถึงสถานที่นอน และถ้าชาวบ้านถามก็จะได้บอกว่า “ปั้นรูปต้นวงศ์จักรี เพราะว่าถ้าเรามีความเลื่อมใส มีความจงรักภักดีต่อพระราชวงศ์จักรี คือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทุกพระองค์ตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๙ เราไหว้ต้นวงศ์จักรีองค์เดียวก็ถึงลูกหลานเหลนทั้งหมด”
เวลาที่จะปั้นรูปท่าน รูปตัวอย่างไม่มี ก่อนอื่นปั้นรูปเล็กก่อน โดย คุณยุพดี จักษุรักษ์ เป็นผู้ปั้นรูปเล็กด้วยดินเหนียวก่อน และช่างปั้นรูปใหญ่ชื่อ นายช่างประเสริฐ แก้วมณี จบชั้นประถมปีที่ ๔ อาตมาถามท่านว่า “เอาใครเป็นแบบฉบับที่คล้ายคลึง” ท่านก็บอกว่า “เอารูปรัชกาลที่ ๖ คล้ายคลึงมาก แต่ผมมากกว่านั้น เหลนผมคนนี้ผมน้อยไปหน่อย พุงโตกว่าผมนิดหนึ่ง” ท่านเป็นคนเนื้อเต็ม ปกติท่านไว้ผมทรงดอกกระทุ่ม ท่านบอกว่า “ถ้าปั้นรูปใหญ่ท่านจะมาช่วย มีส่วนคล้ายคลึงประมาณสัก ๓๐ เปอร์เซ็นต์ก็เป็นอันว่าใช้ได้” เพราะไม่มีรูปตัวอย่างให้ดู เมื่อปั้นรูปท่านเสร็จแล้วประดิษฐานไว้ที่หน้าโรงพยาบาลแม่และเด็ก ปรากฏว่า อภินิหารรูปของท่านก็คือ คนไข้ที่รักษาโรคมาจากที่อื่น มาแล้วไม่หายก็รักษาหายได้ ถ้าคนไข้คนไหนไปจุดธูปบูชาท่านขณะที่มารักษา คนไข้คนนั้นโรคจะหายเร็วมาก เป็นที่ยอมรับนับถือจากคนไข้เป็นอันมาก
ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๐ ท่านมาเล่าให้ฟังอีกว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยกทัพไปปราบพระฝางได้ เมื่อเจ้านายหมดวาสนาบารมี ท่านก็พาภรรยาและบุตรธิดาไปอยู่เมืองเล็กๆ ทางเหนือ อยู่อย่างคนแก่ชอบสงบ ไม่นานนักท่านก็มรณะเพราะไข้ ท่านบอกว่าท่านเป็นพรหมชั้นที่ ๗
-
๑. พระบูชา พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
องค์บูชายืน ท่านท้าวจตุมหาราช (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
ท่านท้าวจตุมหาราช ทั้ง4พระองค์นั้น ท่านเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ซึ่งท่านประจำอยู่ที่ทิศทั้งสี่ อันประกอบไปด้วย
๑. ท้าวมหาราชทิศตะวันออก ท้าวธตรฐ ถือพระขรรค์เป็นอาวุธ พร้อมด้วยคนธรรพ์เป็นบริวาร
๒. ท้าวมหาราชทิศใต้ ท้าววิรุฬหก ถือไม้พองเป็นอาวุธ พร้อมด้วยกุมภัณฑ์เป็นบริวาร
๓. ท้าวมหาราชทิศตะวันตก ท้าววิรูปักษ์ ถือกงจักรเป็นอาวุธ พร้อมด้วยนาคเป็นบริวาร
๔. ท้าวมหาราชทิศเหนือ ท้าวเวสสุวัณ ถือกระบองเป็นอาวุธ พร้อมด้วยยักษ์เป็นบริวารชุด4องค์นี้ คุณวีระ งามขำ หรือที่รู้จักกันในนาม “ลุงยกทรง” เป็นผู้สร้างถวายพระเดชพระคุณหลวงพ่อ ประมาณ 100ชุด ตามประวัติ..ชุดนี้น่าจะเป็นท่านท้าวมหาราชทั้ง4 ที่สร้างขึ้นมาเป็นรุ่นแรก และเป็นเพียงรุ่นเดียวที่ผ่านพิธีพุทธาภิเษกจากหลวงพ่อ
-
องค์บูชายืน ท่านท้าวจตุมหาราชทั้ง4พระองค์ (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง) ออกวัดโพธิ์เมืองปัก
ท่านท้าวจตุมหาราช ทั้ง4พระองค์นั้น ท่านเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา ซึ่งท่านประจำอยู่ที่ทิศทั้งสี่ อันประกอบไปด้วย
๑. ท้าวมหาราชทิศตะวันออก ท้าวธตรฐ ถือพระขรรค์เป็นอาวุธ พร้อมด้วยคนธรรพ์เป็นบริวาร
๒. ท้าวมหาราชทิศใต้ ท้าววิรุฬหก ถือไม้พองเป็นอาวุธ พร้อมด้วยกุมภัณฑ์เป็นบริวาร
๓. ท้าวมหาราชทิศตะวันตก ท้าววิรูปักษ์ ถือกงจักรเป็นอาวุธ พร้อมด้วยนาคเป็นบริวาร
๔. ท้าวมหาราชทิศเหนือ ท้าวเวสสุวัณ ถือกระบองเป็นอาวุธ พร้อมด้วยยักษ์เป็นบริวารชุด4องค์นี้ คณะลูกศิษย์วัดโพธิ์เมืองปักษ์ จัดสร้างเพื่อหาทุนบูรณะวัดโพธิ์เมืองปักษ์และปิดทองพระประธานพระพลังแผ่นดิน หน้าตัก 8ศอก ซึ่งวัดนี้เคยเป็นวัดที่หลวงพ่อท่านเคยมาบูรณะก่อนหน้านี้ องค์บูชานำเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วัดท่าซุง เมื่อคราว วันเสาร์๕ ที่ 7 ธันวาคม 2556
-
องค์บูชายืน ท่านปู่พระอินทร์-ท่านย่า (ศิษย์หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จัดสร้าง) ออกวัดบ้านห้วยน้ำขาว
คณะลูกศิษย์หลวงพ่อฤาษีลิงดำจะเรียกพระอินทร์และพระชายาของพระอินทร์ท่านว่า “ท่านปู่-ท่านย่า” เพราะในอดีต สมัยเชียงแสน ท่านเคยเป็นพ่อเป็นแม่ของหลวงพ่ออยู่ ท่านปู่คือพระเจ้าพังคราช ท่านย่าก็คือพระนางพังครานี ส่วนท่านแม่เกิดเป็นคู่บารมีหลวงพ่อ เรียกสั้นๆ ว่า ท่านแม่ศรี
คาถาบูชาท่านปู่พระอินทร์
ตั้งนะโม 3 จบ ก่อน จากนั้นว่า…
“สหัสสะเนตโต เทวินโท ทิพจักขุง วิโสทายิ”
(คาถาบทนี้เหมาะสำหรับเด็กนักเรียน บอกว่าเวลาก่อนที่จะดูหนังสือ ให้ไหว้พระ นึกถึงพระพุทธเจ้า นึกถึงพระธรรม นึกถึงพระอริยสงฆ์ นึกถึงบิดามารดา ความดีของท่าน นึกถึงครูบาอาจารย์ แล้วนึกถึงท่านปู่พระอินทร์เจ้าของคาถา แล้วว่าสัก 1 จบ แล้วก็ดูหนังสือ เมื่อจะเลิกจากอ่านหนังสือก็ว่าสักอีก 1 จบ วันแรก ๆ ก็อาจจะจำไม่ได้ แต่วันต่อไปก็อาจจะคล่องตัวขึ้นมาเอง)
เป็นคาถาที่มีความสำคัญ โดยเฉพาะคนที่กำลังเรียนหรือศึกษาอยู่ จะมีผลมากด้านความจำ หรือการทำข้อสอบก็จะมีความถูกต้องแม่นยำอย่างไม่น่าเชื่อ
สหัสสะเนตโต…. ตาโต ๆ พันดวง
เทวินโท….เทวดาผู้เป็นใหญ่
ทิพจักขุง….ตาทิพย์ ความรู้สึกเหมือนมีตาทิพย์
วิโสทายิ แค่นั้น ใช่บ่อย ๆ ความจำจะดีองค์บูชายืนท่านปู่-ท่านย่า นี้ ทางวัดบ้านห้วยน้ำขาว จ.กาญจนบุรี จัดสร้างเพื่อหาทุนเพื่อเป็นวิหารทานในการก่อสร้างวัด โดยเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วัดบ้านห้วยน้ำขาว เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2558 โดยมีหลวงตาวัชรชัย วัดเขาถ้ำนารายณ์ และหลวงพี่เล็ก วัดท่าขนุน ร่วมปลุกเสก
**************************************************************************************************
เรื่องเล่า…บทสนทนาระหว่าง “ท่านย่า” สุชาดา(คู่บารมีท่านปู่พระอินทร์) กับ พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี)
#ท่านย่า: “เวลาขึ้นไปข้างบนนะพระคุณเจ้า ลูกพระคุณเจ้าทั้งหลายไม่ได้ดูตาม้าตาเรือเขาหรอก บางทีเขานั่งคุยกัน เดินผ่ากลางเข้าไป แหวกเข้าไปนั่งตรงกลาง องค์อื่นเขาก็ชี้ นั่นไงญาติคุณ ฉันก็นั่งอยู่ด้วยไม่รู้จะพูดยังไง ฉันละอาย
#หลวงพ่อ: “เทวดาไม่มีมรรยาท เห็นคนขึ้นไปไม่หลีก” (หลวงพ่อแก้แทนลูกๆ) “ก็ไปหาย่า หาปู่ ไม่ได้ไปหาคนอื่น”
หลานไม่ยอมแพ้ “ความจริงท่านย่าน่าจะภูมิใจว่า ลูกหลานมีฝีมือนะ”
#ท่านย่า: “ฝีมืออย่างเดียวไม่ไหวหรอกว่ะ อายเขาว่ะ แถมบางคนขึ้นไป ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ ส่งเสียงดังอีกที่หน้าวิมาน หาย่าไม่เจอ มันก็เรียกท่านย่า ท่านย่า เทวดาองค์อื่นเขาก็แตกตื่นมาดูกันใหญ่ ดูลูกท่านซิพระคุณเจ้า ทั้งๆ ที่ฉันก็นั่งอยู่ข้างในนั่นแหละ มันมองไม่เห็นเรียกเสียงดังเชียว มีอย่างที่ไหนไอ้เรื่องเชย เรื่องเฉิ่ม ยกให้ลูกพระคุณเจ้า”
#หลวงพ่อ: “ไม่ได้เชย ไม่ได้เฉิ่ม เขาเรียกว่า นักแสดงปลุกใจ(ขึ้นไปไหนทีเทวดาแตกตื่นมามุงดู)” (หลวงพ่อแก้แทนลูกๆอีก)
****เรื่องเช่นนี้หลวงพ่อเคยเล่าว่า เวลาพวกฝึก(วิชามโนมยิทธิ)ใหม่ ขึ้นไปทั้งเทวดาทั้งพรหม ทั้งพระอริยะ ลุยแหลก คือจะไปหาพระพุทธเจ้า พระอรหันต์นั่งอยู่กี่องค์ไม่ได้ดู ขอให้ได้เห็นพระพุทธเจ้าก็แล้วกัน ทั้งนี้เพราะสมาธิแคบ ไม่เห็นทั้งหมด (พระเดชพระคุณหลวงพ่อจึงได้แนะนำไว้ให้ลูกหลานขอขมาพระรัตนตรัยทุกๆวัน)
หลวงพ่อจึงต้องรับแทนว่า “เวลาลูกลิงขึ้นไป อย่าไปว่าอะไรมันเลยนะ”
ถ้าสังเกตดี ไม่ว่าท่านย่าจะว่าอะไรลูกๆหลานๆมา หลวงพ่อก็จะแก้ให้หมดทุกอย่าง หรือจากหลายๆบทความที่ท่านย่าและท่านแม่มาบอกเล่าว่า องค์หลวงพ่อนั้นทั้งรักทั้งห่วงลูกๆ ยิ่งกว่าใครๆ ทั้งรักทั้งห่วง เป็นแบบนี้มาทุกๆชาติไม่ว่าชาติไหนๆ
จากนิตยสารธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๔๘ ปี ๒๕๒๗
-
พระบูชา พิมพ์อื่นๆ พระบูชาพิมพ์อื่นๆ-โชว์
องค์บูชายืน ท่านแม่ทั้ง3 เนื้อแก้วใส (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
ท่านแม่ทั้งสามองค์นี้ ท่านเป็นคู่บารมีของพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษีลิงดำในอดีตมาหลายๆชาติ เราลูกหลานหลวงพ่อจะเรียกท่านแม่รวมๆว่า “ท่านแม่ทั้งสาม” ส่วนนามเต็มๆของท่านคือ…
ท่านแม่ศรีระจิตร (แม่ใหญ่) มีพระนามเต็มท่านคือ พรรณวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่ประภาศรี (แม่กลาง) มีพระนามเต็มท่านคือ ประภาวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่จิตร (แม่เล็ก) มีพระนามเต็มท่านคือ จิตราวดีศรีโสภาคย์
3องค์นี้ ออกที่วัดท่าซุง รุ่นเก่าสร้างสมัยหลวงพ่อ เป็นเนื้อแก้วใส สร้างครั้งแรก 30 ตุลาคม 2528 ท่านแม่จะสงเคราะห์ลูกหลานให้โชคให้ลาภ อธิฐานขอพรท่านให้ท่านเมตตาได้ทุกประการ
-
องค์บูชายืน ท่านแม่ศรีระจิตร-ท่านแม่ประภาศรี (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
ท่านแม่คู่นี้ ท่านเป็นคู่บารมีของพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษีลิงดำในอดีตมาหลายๆชาติ จะมีอยู่ด้วยกัน3แม่ เราลูกหลานหลวงพ่อจะเรียกท่านแม่รวมๆว่า “ท่านแม่ทั้งสาม” ส่วนนามเต็มๆของท่านคือ…
ท่านแม่ศรีระจิตร (แม่ใหญ่) มีพระนามเต็มท่านคือ พรรณวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่ประภาศรี (แม่กลาง) มีพระนามเต็มท่านคือ ประภาวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่จิตร (แม่เล็ก) มีพระนามเต็มท่านคือ จิตราวดีศรีโสภาคย์
สำหรับรุ่นปิดทองจะสร้างเพียงแค่2แม่ คือ ท่านแม่ศรีระจิตรและท่านแม่ประภาศรี (ส่วนรุ่นแรกที่เป็นแก้วใส จะสร้างออกมาครบทั้ง3แม่)
-
องค์บูชายืน ท่านแม่ศรีระจิตร-ท่านแม่ประภาศรี-ท่านแม่จิตร (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง) ออกวัดท่าขนุน
ท่านแม่ทั้งสามองค์นี้ ท่านเป็นคู่บารมีของพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษีลิงดำในอดีตมาหลายๆชาติ เราลูกหลานหลวงพ่อจะเรียกท่านแม่รวมๆว่า “ท่านแม่ทั้งสาม” ส่วนนามเต็มๆของท่านคือ…
ท่านแม่ศรีระจิตร (แม่ใหญ่) มีพระนามเต็มท่านคือ พรรณวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่ประภาศรี (แม่กลาง) มีพระนามเต็มท่านคือ ประภาวดีศรีโสภาคย์
ท่านแม่จิตร (แม่เล็ก) มีพระนามเต็มท่านคือ จิตราวดีศรีโสภาคย์
3องค์นี้ ออกที่วัดท่าขนุน จ.กาญจนบุรี โดยหลวงพี่เล็ก ลูกศิษย์หลวงพ่อ เป็นเนื้อซิลิก้า ช่างออกแบบได้สวยสดงดงามมาก องค์บูชาท่านแม่ทั้งสามนี้..ชุดนี้ ผมได้นำมาเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วัดท่าซุงเพิ่มเติมอีก เมื่อคราวเสาร์ 5เดือน5 ปี53(ฤกษ์เศรษฐี มหามงคล) ฤกษ์นี้100ปีจะมีไม่กี่ครั้ง
-
องค์บูชายืน พระศรีอาริยะเมตไตรย (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง
พระโพธิสัตว์ที่จะลงมาตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพระพุทธศาสนาถัดไป ทรงสร้างพระบารมีมาสิ้นกาลช้านานถึง ๑๖ อสงไขยกำไรแสนกัป มีศีลบารมี ทานบารมี เต็มบริบูรณ์
องค์นี้ออกที่วัดท่าซุงโดยตรง ทรงประทับยืนทรงเครื่องเทวดา พระหัตถ์ขวาทรงจักร พระหัตถ์ซ้ายทรงพระขรรค์ “จักร” หมายถึง ธรรมจักร สื่อความหมายว่า คนใดที่มีกิเลสหนามาก มีทิฏฐิมานะมาก ต้องใช้จักรปราบปราม ส่วน “พระขรรค์” สื่อความหมายว่า คนใดที่มีกิเลสน้อยก็ใช้พระขรรค์เคาะหรือถู หรือขูดก็หาย ทุกคนที่ต้องการเกิดในสมัยท่าน ให้รักษาศีล ๕ และกรรมบถ ๑๐ เป็นปกติทุกวัน
บริเวณเศียรด้านหลังตอกแท่งฉนวนสำคัญ บางองค์สามารถถอดจักรออกมาได้ ทางวัดสร้างออกมาครั้งแรก เมื่อ ปี2536 ภายหลังหลวงพ่อมรณะภาพแล้ว